ดร.แดน เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ อวยพร เนื่องในวันปีใหม่ 2555 ปรารถนาอยากเห็นเมืองไทยเป็นอารยะ และอวยพรให้พี่น้อง มิตรสหายมีสุขภาพแข็งแรง และมีความสุข
ศาสตราจารย์ ดร. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (ชื่อเล่น: แดน)
นักวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และมีผลงานด้านการเขียนมากมาย
วันพฤหัสบดีที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2554
ตีความข้อมูลที่ได้รับ เพื่อทำความเข้าใจ
ในความเป็นจริงสมองของเรามีศักยภาพด้านการวิเคราะห์เป็นพื้นฐานอยู่แล้ว เช่นเดียวกับศักยภาพด้านความคิดเชิงสร้างสรรค์ โดยสมองในส่วนของการวิเคราะห์จะเป็นส่วนเดียวกับสมองในส่วนของการใช้เหตุผล ซึ่งเป็นการทำงานของสมองซีกซ้าย เมื่อรับข้อมูลต่างๆ เข้ามาทางประสาทสัมผัส สมองจะทำการตีความข้อมูลที่ได้รับโดยวิเคราะห์เทียบเคียงกับข้อมูลเกี่ยวกับ เรื่องนั้นในความทรงจำ จากนั้นสมองจะทำการจะแนกแยกแยะความเหมือนและความแตกต่างของข้อมูลที่ได้รับ พยายามเชื่อมโยงเหตุและผลของเรื่องราวที่เกิดขึ้น เพื่อทำความเข้าใจในสิ่งที่เกิดขึ้น ยกตัวอย่างเช่น การพูดคุยกันของหญิงสาวสองคน
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
วันพุธที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2554
มุ่งเรียนรู้สู่ความเป็นเลิศ
เรียนให้สำเร็จ ต้องรู้ลึก รู้กว้าง และรู้ไกล
เปิดตัวเองเข้าหาข้อมูลข่าวสาร และรู้จักประยุกต์ใช้ข้อมูลเหล่านั้น ให้ถูกคน ถูกสถานที่ และถูกเวลา
อ่านสะสมทุกวันต่อเนื่อง ไม่ใช่อ่านแบบอัดใน 1 สัปดาห์ก่อนสอบเพื่อสอบผ่าน
คนที่เตรียมพร้อมแต่ความรู้ แต่ปราศจากการฝึกฝนด้านทักษะ ก็ไปสู่ความเป็นเลิศไม่ได้ เหมือนคนที่รู้แต่ทฤษฎีย่อมไม่รู้จะปฏิบัติอย่างไร
สมองวิเคราะห์ได้อย่างไร
ในหนังสือลายแทงนักคิดของ ดร.เกรียงศักดิ์ ได้ปูพื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติการคิดของสมอง เมื่อสมองรับข้อมูลเข้ามาจากประสาทสัมผัสจะทำการตีความข้อมูลนั้นโดยใช้กรอบ โลกทัศน์/ชีวทัศน์ร่วมกับการใช้เหตุผลและความรู้จากภายนอก เพื่อทำความเข้าใจว่าสิ่งที่เห็น/รับรู้นั้นมีที่มาที่ไปอย่างไร อันจะนำไปสู่การประเมินหาข้อสรุปให้กับเรื่องนั้น (เกรียงศักดิ์, 2544 : 1)
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
วันศุกร์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2554
การวิเคราะห์ทำหน้าที่เพื่อแยกแยะความแตกต่างระหว่างสิ่งหนึ่งกับสิ่งอื่นๆ
ในท่ามกลางสิ่งต่างๆ ที่ดูภายนอกคล้ายคลึงกัน หรือมีความคลุมเครือดูไม่ออกว่าเป็นอะไร จึงต้องมีการวิเคราะห์เพื่อจำแนกความแตกต่างของสิ่งหนึ่งออกจากสิ่งอื่นๆ โดยวินิจฉัยให้เห็นถึงข้อแตกต่าง และทำให้ข้อแตกต่างนั้นโดดเด่นขึ้นมา เช่น
..ชาวประมงผู้ช่่ำชองสามารถแยกแยะแสงไฟใด เป็นแสงไฟจากประภาคาร ท่ามกลางหมอกที่หนาทึบในเวลากลางคืนได้
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
วันพฤหัสบดีที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2554
การวิเคราะห์เพื่อแจกแจงให้รู้ว่าสิ่งนั้นประกอบด้วยอะไร
การวิเคราะห์เป็นการค้นหาว่าสิ่งนั้นทำมาจากอะไร มีส่วนประกอบอะไรบ้าง โดยการแตกสิ่งนั้นออกเป็นส่วนย่อย ๆ และแจกแจงรายละเอียดของส่วนประกอบย่อย ๆ ทั้งหมด โดยอาจจะจัดแยกเป็นหมวดหมู่หรือตามลำดับความสำคัญ เพื่อให้เห็นทุกองค์ประกอบอย่างครบถ้วน และตรวจสอบโครงสร้างของสิ่งนั้นเพื่อทำความเข้าใจว่าส่วนต่าง ๆ ในแต่ละส่วนย่อยนั้นประกอบกันขึ้นมาได้อย่างไร
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
วันพุธที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2554
การวิเคราะห์ (Analysis) คืออะไร
การวิเคราะห์ (Analysis) หมายถึง การจำแนก แยกแยะองค์ประกอบของสิ่งใดสิ่งหนึ่งออกเป็นส่วนๆ เพื่อค้นหาว่าทำมาจากอะไร มีองค์ประกอบอะไรประกอบขึ้นมาได้อย่างไร เชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างไร
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
วันอังคารที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2554
ทำงานแบบเข้าตานาย - ถ่อมตนเรียนรู้
คนที่จะร่วมงานกับหัวหน้างานอย่างมีความสุข สิ่งแรกคือ ต้องเป็นคนถ่อมตน ยินดีเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ จากหัวหน้างาน ยินดีรับคำสั่ง รับคำสอน รับคำแนะนำ และสำคัญยิ่ง..รับคำตักเตือนว่ากล่าว ไม่ทำตัววางก้ามโอหังหรือหยิ่งทะนง คิดว่าตนเองรู้แล้ว เป็นแล้ว ถูกต้องแล้ว แม้ตนเองอาจจบการศึกษาในระดับสูงกว่าหัวหน้า หรือมีความรู้ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องมากกว่าหัวหน้าก็ตาม
วันจันทร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2554
เพิ่มเกณฑ์ความดีทางการเมือง ช่วงที่ 1
จากคำถามนี้ หากตามหลักการแล้ว แน่นอนว่าคำตอบคือ การเมืองควรเป็นพื้นที่ของคนดี เพราะบทบาทหน้าที่ของนักการเมืองเป็นการเข้าไปเป็นตัวแทนประชาชน ทำประโยชน์เพื่อประชาชนและประเทศชาติโดยรวม
วันเสาร์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2554
Happy การทำงานให้มีความสุข
มนุษย์เราเป็นพวกชอบแสวงหาความสุข และวิธีหนึ่งที่เราแสวงหา คือ การเลือกงานที่เราชอบ และรักที่จะทำ หากเราได้งานเช่นนี้ ส่วนใหญ่เชื่อว่าจะนำมาซึ่งความสุข ดังคำกล่าวที่ขงจื๊อได้กล่าวไว้ว่า “จงเลือกงานที่ท่านรัก แล้วท่านจะไม่ต้องทำงานเลยตลอดชีวิต” หมายถึง ชีวิตที่เป็นหนึ่งเดียวกับงาน รู้สึกว่างานไม่ใช่ภาระหนัก ไม่ใช่ความเหน็ดเหนื่อย
วันพุธที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2554
ปัญหาข้าราชการไทย ช่วงที่ 1
ข้าราชการ หรือข้าหลวงแผ่นดิน เป็นกลุ่มบุคลที่ต้องปฏิบัติหน้าที่สำคัญ คือการให้บริการที่ช่วยสนับสนุนให้ประชาชนในประเทศมีคุณภาพที่ดีขึ้น ซึ่งเป็นกลไกหลักในการพัฒนาประเทศ
วันพุธที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2554
อัญมณีไทยโตได้ในตลาดเยอรมณี
อัญมณีไทยโตได้ในตลาดเยอรมณี
น.ส.จตุพร วัฒนสุรรณ ผู้อำนวยการอาวุโสสำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ นครแฟรงเฟิร์ต เผยว่า เมื่อเร็วๆ นี้ได้เข้าพบบริษัท Campur GmbH ซึ่งนำเข้าสินค้าในกลุ่มอัญมณีและเครื่องประดับรายใหญ่จากไทย โดยนำเข้าปีละประมาณ 500,000 ยูโร หรือร้อยละ 80 ส่วนใหญ่เป็นสินค้าประเภทเครื่องประดับที่ทำด้วยเงินและอัญมณี และ accessories โดยในช่วง 9 เดือน (ม.ค.-ก.ย.) 2554 ไทยส่งออกสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับไปเยอรมณี 211.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 30.54 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนที่มา: http://www.depthai.go.th
วันพฤหัสบดีที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2554
การเรียนรู้เป็นกระบวนการ
กระบวนการการเรียนรู้
ขั้นตอนที่ 1 เปิดใจรับข้อมูล
ขั้นตอนที่ 2 คิด วิเคราะห์ ไตร่ตรองจนเข้าใจ
ขั้นตอนที่ 3 ประยุกต์ใช้ในทางสร้างสรรค์ หรือ เปลี่ยนแปลงทัศนคติ ค่านิยม
"กระบวนการทางเคมีจะสมบูรณ์ครบถ้วนจนนำสู่ผลปลายทางที่ต้องการได้ จะต้องดำเนินไปตามขั้นตอนต่าง ๆ อย่างเพียบพร้อม และไม่สามารถข้ามลัดขั้นตอนได้ฉันใด กระบวนการเรียนรู้ที่แท้จริงจะครบถ้วนสมบูรณ์จนไปถึงผลบั้นปลายที่สร้าง สรรค์ได้จะต้องดำเนินไปตามกระบวนการแห่งการเรียนรู้ทุกขั้นตอน และ ไม่สามารถขาดเว้นขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งได้เช่นกันฉันนั้น"
Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)