วันจันทร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

ปีเตอร์ กาดอล ผู้ประยุกต์งานเขียนจากการเรียนรู้สิ่งรอบตัว ตอนที่ 1/4

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

ปีเตอร์ กาดอล (Peter Gadol) นักเขียนผู้สร้างสรรค์ผลงานจากประสบการณ์รอบตัว และมีแนวทางการนำเสนอที่ทันสมัย สอดคล้องกับสภาพสังคมในขณะนั้น ถูกยกย่องให้เป็นนักเขียนที่เต็มไปด้วยพลัง และมีเอกลักษณ์ของตนเอง ในการสะท้อนค่านิยม และสภาวะของสังคมผ่านงานเขียนของเขา

ปีเตอร์ กาดอล ผู้ประยุกต์งานเขียนจากการเรียนรู้สิ่งรอบตัว ตอนที่ 2/4

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

ผลงานที่กลั่นกรองจากประสบการณ์ และแรงบันดาลใจ ที่เขาได้รับจากการเดินทางไปยังสถานที่ต่าง ๆ ทำให้งานเขียนของเขามีความน่าสนใจมากขึ้น และเต็มเปี่ยมด้วยความคิดสร้างสรรค์ ที่สามารถผนวกเอาเรื่องราวในชีวิตประจำวัน สิ่งที่เกิดขึ้นรอบตัวผู้อ่าน มาทำให้เกิดเรื่องราวที่น่าติดตาม

ปีเตอร์ กาดอล ผู้ประยุกต์งานเขียนจากการเรียนรู้สิ่งรอบตัว ตอนที่ 3/4

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

เรียนรู้ตลอดชีวิต มีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง หมั่นแสวงหา ค้นคว้าข้อมูล อ่าน ทำความเข้าใจ เรียนรู้อยู่เสมอ สนใจและตื่นเต้นในการค้นพบสิ่งใหม่

ปีเตอร์ กาดอล ผู้ประยุกต์งานเขียนจากการเรียนรู้สิ่งรอบตัว ตอนที่ 4/4

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

หัวใจสำคัญที่ทำให้เราสามารถพัฒนาความรู้ เป็นความเข้าใจ เพื่อนำไปสู่การตกผลึกทางปัญญาได้นั้นคือ การพัฒนาทักษะการคิด ที่ต้องทำควบคู่กับไป เนื่องจากการคิดเป็นจะช่วยให้เราสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่ได้รับ นำมาสร้างสรรค์ให้เกิดสิ่งที่มีประโยชน์ได้

วันอังคารที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2552

รักจริง ต้องใช้เงินเป็น ตอนที่ 1/2

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

คนสองคนรักกัน “ความรัก” นั้นไม่ต้องใช้เงิน แต่หากก่อนแต่งงาน ไม่ได้วางแผนการใช้เงิน นิสัยการใช้เงินของคนรัก อาจเป็นเหตุให้ความรัก ‘ร้าว’ ได้

รักจริง ต้องใช้เงินเป็น ตอนที่ 2/2

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

ก่อนตกลงปลงใจร่วมชีวิตกับใคร ผมขอแนะนำว่าจะต้องรู้จักอีกฝ่ายเกี่ยวกับเรื่อง "เงิน" อย่างน้อยใน 2 เรื่องคือ ลักษณะนิสัยการใช้เงินของแต่ละฝ่าย และ การวางแผนการเงินร่วมกันหลังแต่งงานแล้ว ทั้งสองเรื่องนี้จะช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ของครอบครัวให้ยั่งยืนได้หากมีการเตรียมการที่ดี

วันศุกร์ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2552

ไมเคิล แมคโคบี นักวิชาการผู้มุ่งมั่นสร้างความรู้ ตอนที่ 1/4

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

ไมเคิล แมคโคบี (Michael Maccoby) นักจิตวิทยาวิเคราะห์ นักมานุษยวิทยา ผู้มีชื่อเสียงระดับโลก ได้รับเชิญให้เป็นที่ปรึกษาด้านการพัฒนาภาวะผู้นำในองค์กรระดับโลกหลายแห่ง เจ้าของงานเขียน 12 เล่ม ผู้ก่อตั้ง ผู้บริหาร ที่ปรึกษา สถาบันที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทรัพยากรมุนษย์ ใน 26 ประเทศทั่วโลก

ไมเคิล แมคโคบี นักวิชาการผู้มุ่งมั่นสร้างความรู้ ตอนที่ 2/4

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

ชีวิตในฮาร์วาร์ดได้เปิดโอกาสให้ ไมเคิล แมคโคบี ได้พบปะกับบุคคลที่มีชื่อเสียง ทั้งการเรียน การทำงานร่วมกัน และเป็นสิ่งที่จุดประกายความสนใจศึกษาด้านปรัชญา จิตวิทยา และมานุษยวิทยา ซึ่งเขาจบการศึกษาปริญญาตรีด้วยคะแนนเกียรตินิยม ในปี ค.ศ.1945 และในปี ค.ศ.1960 จบปริญญาเอก ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม (Social Relations) อันเป็นการเรียนการสอนที่ผนวกความรู้ด้านจิตวิทยา บุคลิกภาพและมานุษยวิทยาเข้าด้วยกัน

ไมเคิล แมคโคบี นักวิชาการผู้มุ่งมั่นสร้างความรู้ ตอนที่ 3/4

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

นอกจากนี้งานวิจัย ด้านการพัฒนาภาวะผู้นำ ในบริษัทยักษ์ใหญ่ชั้นนำ เช่น ฮิวเลตต์ แพค์การ์ด (HP) ไอบีเอ็ม (IBM) และเท็กซัส อินสตรูเม้นท์ส (Texas Instruments) ของเขา ได้กลายมาเป็นหนังสือที่ติดอันดับหนังสือขายดีและได้รับการยอมรับว่า เป็นหนังสือที่ทำให้เข้าใจถึงบุคลิคภาพและภาวะผู้นำในองค์กรธุรกิจได้เป็นอย่างดี

ไมเคิล แมคโคบี นักวิชาการผู้มุ่งมั่นสร้างความรู้ ตอนที่ 4/4

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

พัฒนาความรู้ มีลักษณะเป็นนักเรียนตลอดชีวิต อันนำไปสู่ การพยายามค้นหาคำตอบต่อข้อสงสัย เช่น หาในหนังสืออ้างอิง ถามผู้รู้ คิดใคร่ครวญหาคำตอบ พิจารณาบริบทที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลและคิดอย่างเป็นระบบ มองหาความเชื่อมโยงของสิ่งต่าง ๆ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เพื่อขยายฐานความรู้ ฐานความคิด และฐานความเข้าใจให้มีความชัดเจน กว้างขวาง ถูกต้องและลึกซึ้งมากขึ้น

วันอังคารที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2552

รู้ลึกจนชำนาญพัฒนาสู่ความเชี่ยวชาญ ตอนที่ 1/3

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

เฮนริอาตา ลีวิตต์ (Henrietta Swan Leavitt) นักดาราศาสตร์หญิงชาวอเมริกัน ผู้สร้างคุณูปการต่อวงการดาราศาสตร์ ค้นพบการคำนวณระยะห่างของดวงดาว จากการกระพริบในยุคที่ยังไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์

รู้ลึกจนชำนาญพัฒนาสู่ความเชี่ยวชาญ ตอนที่ 2/3

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

การศึกษาของเธอ ส่งผลให้นักดาราศาสตร์สามารถคำนวนหาระยะห่างของดวงดาว โดยคำนวนจากการกระพริบแสง ของดาวแปรแสงเหล่านั้น นับว่ามีประโยชน์มากในยุคที่ยังไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์

รู้ลึกจนชำนาญพัฒนาสู่ความเชี่ยวชาญ ตอนที่ 3/3

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

คิดสร้างสรรค์ ไม่ติดกรอบความรู้แบบเดิม ไม่ใช้ประสบการณ์เดิมเป็นตัวตัดสินเหตุการณ์ใหม่ที่เกิดขึ้น แต่ให้พิจารณาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและคิดให้ยืดหยุ่นมากที่สุด เช่น หาทางเลือกที่หลากหลาย ทั้งทางเลือกที่ไม่เคยใช้มาก่อน ทางเลือกที่คิดว่าง่าย ทางเลือกที่เคยล้มเหลวมาแล้วในอดีต หรือวิธีการที่ยังไม่มีใครนำมาใช้ เป็นต้น พิจารณาถึงความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด ก่อนตัดสินใจเลือกทางเลือกที่คิดว่าเหมาะสมมากที่สุด

วันอาทิตย์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2552

เอมี กัตแมนน์ บริหารอย่างมีวิสัยทัศน์ ตอนที่ 1/4

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

เอมี กัตแมนน์ Amy Gutmann ผู้บริหารหญิงผู้มากความสามารถ เป็นศิษย์เก่าฮาร์วารด์ที่รับรางวัลเกียติยศจากมหาวิทยาลัยในฐานะ ศิษย์เก่าผู้สร้างชื่อให้แก่สถาบัน โดยการสร้างสรรค์สิ่งดีสู่สังคม เป็นผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์ กล้าคิดและกล้าตั้งเป้าหมายใหญ่ เพื่อพัฒนาสถาบันการศึกษาที่ตนบริหาร ให้ก้าวสู่ความเป็นหนึ่งในโลกของการศึกษา

เอมี กัตแมนน์ บริหารอย่างมีวิสัยทัศน์ ตอนที่ 2/4

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

โครงการสำคัญที่ เอมี กัตแมนน์ ได้ริเริ่มในมหาวิทยาลัยแห่งนี้ได้แก่ การปรับปรุงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อ โดยสนับสนุนให้นักเรียนที่มาจากครอบครัวที่มีรายได้น้อยได้รับโอกาสทางการศึกษา และโครงการระดมทุนแก่มหาวิทยาลัยที่มีมูลค่า 3,500 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นโครงการระทุนก้อนใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย

เอมี กัตแมนน์ บริหารอย่างมีวิสัยทัศน์ ตอนที่ 3/4

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

นอกจากนี้ยังได้รับเชิญให้เป็น คณะกรรมการด้านนโยบายการศึกษา ของหน่วยงานภาครัฐหลายแห่ง ทั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านการอุดมศึกษาแห่งชาติ (National Security Higher Education Advisory Board) ฟอรั่มผู้นำมหาวิทยาลัยของโลก (Global University Leaders Forum: GULF) รวมถึงเข้าร่วมในคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยจากทั่วโลก เพื่อให้คำปรึกษาด้านนโยบายการศึกษา ต่อคณะมนตรีความมั่นคงแห่งองค์กรสหประชาชาติ ในประเด็นการศึกษาของโลก

เอมี กัตแมนน์ บริหารอย่างมีวิสัยทัศน์ ตอนที่ 4/4

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

การทดสอบขั้นพื้นฐานเพื่อดูว่าเราเป็นผู้มีวิสัยทัศน์หรือไม่ ให้เราลองหลับตาและถามตัวเองว่า “ต้องการเห็นอนาคตเป็นอย่างไร?” “เราต้องการไปไกลถึงระดับใดในความสามารถและศักยภาพของเรา ทั้งในชีวิตส่วนตัวและในอาชีพการงาน?” “เราพร้อมจะท้าทายตัวเองให้กล้าทำสิ่งใหม่ ๆ เพื่อไปถึงจุดนั้นหรือไม่” “เรามั่นใจว่าจะบุกบั่นไม่ย่อท้อ แม้มีอุปสรรคจนกว่าสิ่งที่เราปรารถนาจะสำเร็จหรือไม่”

วันเสาร์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2552

Thailand’s new policies For the next step forward

Thailand’s new cabinet, in the hands of Prime Minister Abhisit Vejjajeva, now has certain inescapable and important tasks to tackle. As each ministry formulates policies, and old problems remain to be solved, besides Thailand’s heavy economic burden, a plethora of chronic problems also queue for attention, whether issues of crime, poor-quality education or environmental degradation, for example.

Thai - Brazilian cooperation can help Thailand’s economy

Brazil, a great South American nation is now known as a BRIC country, one of the four emerging economic super powers, and expected to become a powerful and influential country in the world. There is huge potential in Brazil for future prosperity as it is a large country having abundant resources and a large population of nearly 300 million in possession of advanced technology and a variety of available expertise. It is therefore time for Thailand to get to know and foster a strong relationship with Brazil.

The innovation of IPR protection

According to US Special Report 301, 2008, Thailand is still on the Priority Watch List (PWL). To justify this, the US government explains that Intellectual Property Rights (IPR) protection by the Thai government is still weak. This situation pushed the Ministry of Commerce to show their “integrity and effort” by having nearly 100 officers rush to block the entrance and exit of Patphong Road to suppress piracy commerce. This action culminated in a fight between officers and pirated goods merchants in Patphong Road.

วันอาทิตย์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

นาดีน สโตรเซน สำเร็จได้เพราะรักการอ่าน ตอนที่ 1/4

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

นาดีน สโตรเซน (Nadine Strossen) ผู้หญิงคนแรกที่ได้รับเลือกให้เป็นประธานองค์กรอเมริกันซิวิลลิเบอร์ตีส์ยูเนียน (American Civil Liberties Union หรือ ACLU) องค์กรไม่แสวงหาผลประโยชน์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีฐานสมาชิกมากกว่าห้าแสนคน ประธาน และเป็นผู้บริหารที่มีอายุน้อยที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์องค์กร ศิษย์เก่าฮาร์วาร์ดคนนี้ยังได้สร้างชื่อเสียงในฐานะ ผู้นำทางธุรกิจ ที่ปรึกษาด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ นักกฎหมายผู้มีผลงานตีพิมพ์ในนิตยสารชื่อดังหลายฉบับ

นาดีน สโตรเซน สำเร็จได้เพราะรักการอ่าน ตอนที่ 2/4

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

การได้เข้าศึกษาในฮาร์วาร์ด เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่หล่อหลอม ความคิด เปิดโลกกว้างให้กับ นาดีน สโตรเซน เนื่องจากเธอได้มีโอกาสพบปะกับบุคคลระดับหัวกะทิ ที่มาจากทั่วโลก ได้คลุกคลีกับคณาจารย์ที่มีชื่อเสียง ได้อ่านหนังสือในห้องสมุดที่ใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ได้ค้นพบความชอบ และพัฒนาความรู้ จนสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในโลกของการทำงาน

นาดีน สโตรเซน สำเร็จได้เพราะรักการอ่าน ตอนที่ 3/4

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

ช่วงตลอดระยะเวลา 17 ปี ของการเป็นผู้บริหารองค์กร นาดีนได้สร้างผลงานจนเป็นที่ประจักษ์แก่คนทั่วไป และได้สร้างความตื่นตัวให้กับสังคมในเรื่อง สิทธิเสรีภาพ ไม่ว่าจะเป็น การพูดในที่สาธารณะกว่า 200 ครั้งต่อปี การให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับเสรีภาพของพลเมืองในสื่อมวลชนอยู่เป็นประจำ

นาดีน สโตรเซน สำเร็จได้เพราะรักการอ่าน ตอนที่ 4/4

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

นอกจากนี้ ที่สำคัญกว่านั้น เราจำเป็นต้องอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ โดย…

วันเสาร์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

การค้าไทยในภาวะฝืดเคือง ตอนที่ 2/2

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

เช่นเดียวกับการค้าภายในประเทศที่มีแนวโน้มชะลอตัวลง เนื่องจากเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มชะลอตัว ทำให้ภาคเอกชนชะลอการลงทุนและทำให้ผู้บริโภคขาดความเชื่อมั่นจนไม่กล้าใช้จ่าย การส่งออกและการท่องเที่ยวที่ชะลอตัวจะทำให้รายได้ของภาคการผลิตและธุรกิจท่องเที่ยวชะลอตัวลง ส่งผลทำให้ธุรกิจหลายแห่งต้องปิดกิจการหรือปลดแรงงานออกจำนวนมาก ความต้องการสินค้าและบริการภายในประเทศจึงชะลอตัวลง

การค้าไทยในภาวะฝืดเคือง ตอนที่ 1/2

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

วิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์ที่มีจุดเริ่มต้นในสหรัฐอเมริกา และกำลังลุกลามไปยังยุโรปและทั่วโลกในขณะนี้ ทำให้เศรษฐกิจของสหรัฐฯและยุโรปเริ่มส่งสัญญาณการเข้าสู่ภาวะถดถอยและทำให้เศรษฐกิจเอเชียชะลอตัวลงด้วย และมีแนวโน้มความถดถอยทางเศรษฐกิจที่รุนแรงขึ้นในปี พ.ศ.2552

วันอังคารที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2552

ไปได้ไกล เท่าที่ใจอยากก้าว ตอนที่ 1/3

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

บทบาทของผู้หญิงในการมีส่วนร่วมสร้างสรรค์สังคม นับวันจะมีเพิ่มมากยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ ตามสภาพสังคมและกฎหมายที่เอื้อให้ผู้หญิงสามารถแสดงบทบาทและศักยภาพด้านต่าง ๆ ออกมาได้อย่างได้รับการยอมรับมากยิ่งขึ้น

ไปได้ไกล เท่าที่ใจอยากก้าว ตอนที่ 2/3

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

นาตาลี พอร์ตแมน (Natalie Portman) นักแสดงหญิงฝีมือเยี่ยมของฮออลีวูด เจ้าของรางวัลลูกโลกทองคำปี ค.ศ.1999 และรับบทเป็นเจ้าหญิงอมิดาลา แห่งภาพยนตร์ไซไฟ เรื่อง สตาร์ วอร์ส ความภาคภูมิใจอย่างหนึ่งที่นาตาลีพูดถึงเสมอ กลับไม่ใช่การที่เธอเป็นนักแสดงดังระดับโลก แต่เป็นการเรียนที่เธอให้ความสำคัญมาเป็นอันดับหนึ่งเสมอ

ไปได้ไกล เท่าที่ใจอยากก้าว ตอนที่ 3/3

Dr Kriengsak Chareonwongsak
Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University
kriengsak@kriengsak.com, kriengsak.com, drdancando.com

เอเลน กู๊ดแมน (Ellen Goodman) นักเขียนรางวัลพูลิตเซอร์ เมื่อปี ค.ศ.1980 มีผลงานปรากฏอยู่บนหน้าหนังสือพิมพ์กว่า 440 ฉบับทั่วประเทศสหรัฐอเมริกา เจ้าของงานเขียน 6 เล่ม ที่มีชื่อเสียงคือหนังสือชื่อ “Turning Points” ตีพิมพ์เมื่อปี ค.ศ.1979 งานเขียนในช่วงแรกของเธอนับว่า มีบทบาทในการสร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับสังคมอเมริกัน เพราะเป็นงานเขียนชิ้นแรก ๆ ที่สะท้อนความคิดของผู้หญิงในหน้าหนังสือพิมพ์

วันอาทิตย์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

Rice-pledging, price support or?

A rice farmers’ support programme has featured in Thai newspaper headlines for many days now, and has become a controversial issue. While the government plans shifting to a price support programme, farmer rice price demonstrators demand that the government maintain a rice-pledging programme, along with a quota increase.

PhD Production Crisis

PhD study is the foundation for creating and developing knowledge at individual, organizational, and national levels. Unfortunately, many universities worldwide have poor quality PhD production – even in the United Kingdom, which has a high quality education system. Due to high competition and the notion of the autonomous university, university executive boards are forced to create plans to entice a multitude of students, including PhD students. Consequently, the rigorousness of PhD admission decreases in order to accept as many students as possible, leading to much criticism as to their quality.
Related Posts Plugin for WordPress, Blogger...